Young artists have a particular contribution to make to the global call for gender equality. A recent competition and exhibition for young people in Thailand showcased their creativity along with their desire for a world free of gender-based stereotypes, discrimination, and abuse. The event marked the culmination of a collaboration between UN Women Regional Office for Asia and the Pacific and the Embassies of France and Mexico, in the lead up to the Generation Equality Forum which culminates in Paris from 30 June – 2 July 2021.
On 28-29 June 2021, a stunning range of works expressing youth perspective on gender issues were featured in an online display under the title "Youth Voices for Generation Equality", a project carried out by UN Women Regional Office for Asia and the Pacific along with the embassies of France and Mexico in Thailand.
The pieces, by Thai and international youth living in Thailand, expressed the artists’ demands for greater gender equality and women’s and girl’s empowerment through media including dance, performance art, poetry, painting, and collage. Specific topics ranged from sexual and reproductive health rights to gender-based violence, women’s economic empowerment, and feminist movements and leadership.
The winning works tactfully tackle how tradition, cultural norms, religion, education, ignorance, victim blaming, and mental health can intensify the consequences of gender inequality, while demanding the need for change. A traditional Thai dance performance with modern twists and a commentary on changing convention, a spoken-word poem calling attention the role of bystanders and community in sexual assault, and a collage depicting women breaking into a frame of global and government leaders were among the top submissions.
กลุ่มยุวศิลปินได้ส่งผลงานเพื่อเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศ การแข่งขันและนิทรรศการล่าสุดของกลุ่มศิลปินรุ่นเยาว์ในประเทศไทยได้แสดงให้เห็นถึงความสร้างสรรค์พร้อมด้วยความปรารถนาให้โลกใบนี้เป็นที่ปราศจากทัศนคติเหมารวมด้านเพศ การเลือกปฏิบัติ และความรุนแรงทางเพศ ซึ่งกิจกรรมนี้เป็นการประชุมสุดยอดความร่วมมือระหว่างองค์การเพื่อสตรีแห่งสหประชาชาติ ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก สถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสและเม็กซิโกประจำประเทศไทย ภายใต้บริบทของ การประชุมยุคสมัยแห่งความเท่าเทียม ซึ่งเป็นการประชุมสุดยอด ณ กรุงปารีส ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน - 2 กรกฎาคม
วันที่ 28-29 มิ.ย. – ผลงานที่น่าประทับใจต่างๆ แสดงออกถึงทัศนคติของเยาวชนที่มีต่อปัญหาเรื่องเพศได้นำมาแสดงในรูปแบบออนไลน์ภายใต้หัวข้อ เสียงของเยาวชนเพื่อยุคสมัยแห่งความเท่าเทียม โครงการที่จัดขึ้นโดยองค์การเพื่อสตรีแห่งสหประชาชาติ ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก พร้อมด้วยความร่วมมือจากสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสและเม็กซิโก ประจำประเทศไทย
ผลงานต่างๆ โดยเยาวชนไทยและนานาชาติที่พำนักอยู่ในประเทศไทย ได้แสดงออกถึงการเรียกร้องของศิลปินต่อเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ พลังสตรีและเด็กผู้หญิงผ่านสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นศิลปะการแสดง การเต้นรำ บทกวี ภาพวาด หรืองานคอลลาจ หัวข้อเฉพาะสำหรับกิจกรรมนี้มีตั้งแต่สุขภาวะทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ ตลอดจนความรุนแรงทางเพศ การเคลื่อนไหวสิทธิสตรีเพื่อความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ กระแสสตรีนิยม และภาวะความเป็นผู้นำ
ผลงานที่ชนะการแข่งขันในครั้งนี้ ได้นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับ ประเพณี บรรทัดฐานสังคม ศาสนา การศึกษา การละเลยเพิกเฉย การกล่าวโทษเหยื่อ และภาวะสุขภาพทางจิตที่อาจทำให้ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่เท่าเทียมทางเพศรุนแรงขึ้น ในขณะที่มีการเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ผลงานการแสดงรำไทยในรูปแบบมุมมองร่วมสมัย (modern twists) และการวิพากษ์วิจารณ์ต่อขนบธรรมเนียมที่กำลังเปลี่ยนไป (changing convention) บทกวีบรรยายที่เรียกร้องให้สังคมและพยานแวดล้อม (Bystander) ตระหนักถึงปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศ และงานคอลลาจซึ่งพรรณนาเกี่ยวกับผู้หญิงที่พยายามก้าวเข้ามาในกรอบท่ามกลางกลุ่มผู้นำระดับรัฐบาลและในระดับโลกที่ส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย
WINNING ARTWORKS I รางวัลชนะเลิศ
1. VISUAL ARTS / ทัศนศิลป์ | Hsuan-Ling Chen (Charlene) - 17 years old
This collage artwork by Hsuan-Ling Chen reflecting how difficult it still is for female team members to break the glass ceiling and move up to key managerial positions. ผลงานศิลปะคอลลาจ โดย Hsuan-Ling Chen ที่สะท้อนให้เห็นถึงความยากลำบากของผู้หญิงในทีมที่ทำลายกรอบเพื่อก้าวไปสู่ตำแหน่งผู้บริหารสำคัญ
A word from the artist: "Nowadays despite the global awareness of female representation, women only make up a small portion of global leaders and government officials. Therefore this piece depicts women breaking the boundaries and placing themselves into the "picture".
ข้อความจากศิลปิน: "ปัจจุบัน แม้จะมีการตระหนักถึงการเป็นตัวแทนของผู้หญิงทั่วโลก แต่ผู้หญิงก็เป็นเพียงส่วนเล็กๆ ของผู้นำระดับโลกและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ดังนั้นผลงานชิ้นนี้แสดงให้ถึงผู้หญิงที่กำลังทำลายขอบเขตเพื่อที่จะนำตัวเองเข้าไปอยู่ใน "รูปภาพ"
2. PERFORMATIVE ARTS / ศิลปะการแสดง | Piengrawee Sirisook - 24 years old - Peeling - ปอกเปลือก
This traditional Thai dance performance by Piengrawee Sirisook includes modern twists and a commentary on changing convention of genders and social representation of women. การแสดงรำไทย โดย เพียงรวี ศิริสุข ในรูปแบบมุมมองร่วมสมัยและการวิพากษ์วิจารณ์ต่อการเปลี่ยนแปลงขนบทางเพศและการเป็นตัวแทนทางสังคมของผู้หญิง
A word from the artist: "In my opinion, everyone has the right to their own body and it's not depend on the gender. We can decide what we want to wear, how we want to present ourselves. Human identity shouldn't restricted under tradition, religion, social norms and gender inequality."
ข้อความจากศิลปิน: "ในความคิดของฉัน ทุกคนมีสิทธิ์ต่อรร่างกายของตนเองและมันไม่ได้ขึ้นอยู่กับเพศสภาพ เราสามารถตัดสินใจได้ว่าเราอยากแต่งตัว นำเสนอตัวเองแบบไหน อัตลักษณ์ของมนุษย์ไม่ควรถูกจำกัดอยู่ใต้ประเพณี ศาสนา บรรทัดฐานสังคมและความไม่เท่าเทียมทางเพศ"
3. RHETORICS / วาทศิลป์ | Nutcha Pimolsathien (Nut) - 20 years old - Tayci - เทซี่
With the free-verse poem Tayci, Nutcha Pimolsathien calls attention to the role of bystanders and community in sexual assault. เทซี่ บทกลอนอิสระ ประพันธ์โดย ณัชชา พิมลเสถียร เรียกร้องถึงบทบาทของผู้ที่นิ่งเฉยและชุมชนต่อการล่วงละเมิดทางเพศ
A word from the artist: "Tayci is a girl’s name meaning a silent girl. I give this name to the place in the story to imply that something happened to women and girls in that place but they could not reach any help, even their crying out loud might not be heard. There are two types of silence: 1) not saying anything and 2) making something not matter anymore by ignoring its existence. The problem gets more complicated when it involves family matter, work, intimate relationship or even reputation, and sometimes the silence thing comes up. As we know, the number of gender-based violence is underreported. The silence issue plays a role in making less people aware of gender-based violence and in making many victims not receive appropriate help and compensation. I put a white daisy in the video because ‘daisy’ and ‘Tayci’ have similar sounds, and the white color symbolizes something good — as described in the first lines of the poetry, Tayci village seems to be a good place to live. The black ink slowly running down on the daisy represent the unraveling of something hidden in that place — something unpleasant."
ข้อความจากศิลปิน: "เทซี่ คือชื่อของเด็กผู้หญิงมีความหมายว่า เด็กผู้หญิงที่เงียบ ฉันนำชื่อนี้มาตั้งเป็นสถานที่ในเรื่องเพื่อเปรียบว่ามีบางอย่างเกิดขึ้นกับผู้หญิงและเด็กผู้หญิง ณ ที่แห่งนี้ แต่ไม่มีใครเลยสักคนยื่นมือเข้ามาช่วยถึงแม้พวกเขาจะร้องดังแค่ไหนก็ไม่มีใครได้ยิน ความเงียบมี 2 แบบ 1.) ไม่พูดอะไรเลย และ 2.) ทำให้สิ่งนั้นไม่สำคัญโดยการเพิกเฉยเหมือนว่าสิ่งนั้นไม่มีอยู่ ปัญหาจะซับซ้อนมากขึ้นเมื่อเกี่ยวข้องกับเรื่องครอบครัว การงาน ความสัมพันธ์ใกล้ชิด หรือแม้แต่ชื่อเสียง และบางครั้งความเงียบก็ปรากฏขึ้น อย่างที่เราทราบกันดีว่าจำนวนความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศนั้นยังไม่ได้รับรายงาน ปัญหาการเงียบทำให้ผู้คนตระหนักในเรื่องความรุนแรงด้วยเหตุแห่งเพศน้อยลง และทำให้เหยื่อจำนวนมากไม่ได้รับการช่วยเหลือหรือค่าชดเชยที่เหมาะสม ฉันใส่รูปดอกเดซี่สีขาวในวิดีโอ เพราะ 'เดซี่' และ 'เทซี่' ออกเสียงคล้ายกัน และสีขาวเป็นสัญลักษณ์ของสิ่งที่ดี — ตามที่อธิบายไว้ในบรรทัดแรกของบทกวี หมู่บ้าน Tayci ดูเหมือนจะเป็นสถานที่ที่ดีเหมาะกับการอยู่อาศัย ส่วนหมึกสีดำที่ค่อยๆไหลลงมาบนดอกเดซี่แสดงถึงบางสิ่งที่ซุกซ่อนอยู่ในที่นั้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่พึงประสงค์"
HONORARY MENTION FROM THE JURY - Veerawat Kamkom - 23 years old - สตรีศึกษา มช. คลังความรู้เฟมินิสต์ระดับเอเชีย Women's Studies CMU
Focusing on the Department of Women's Studies at Chiang Mai University, this short documentary highlights expert opinions on gender equality, the inclusion of men in feminism, and intersectionality. มุ่งเน้นไปที่ภาควิชาสตรีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สารคดีสั้นที่เน้นแนวคิดผู้เชี่ยวชาญในเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ การรวมผู้ชายเข้ากับสตรีนิยมและแนวคิดการเหยียดเพศ
A word from the artist: "Veerawat Kamkom, a student from Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University and team member of Young Pride Club, would like to share experiences in the department is more than a place of study. But it is another family which is always welcome and educate them to make a change. The Department of Women's Studies CMU is one of the biggest feminism library not only in Thailand but in Asia. They also support a social movement such as Women’s March on International Women's Day. Because they believe 'Being a feminist does not have to be a woman. Men can be a feminist, and gender equality includes intersectionality.' This visual work is an inspiration for young people, especially in the university, who interested in issues of gender and diversity to know the sources of support like The Department of Women's Studies CMU. It helps young people who want to see a better society having the resources, knowledge and encouragement to support the feminist movement in our society. Whether you are a woman, a man, LGBTQIAN+, people with disabilities, or any ethnicity, etc. Everyone can lead a feminist movement in our society."
The showcase is the sixth and final product in the series of events co-organized under the framework of the Generation Equality Forum (GEF), a civil society-centred, global gathering convened by UN Women and co-hosted by the governments of France and Mexico. In the lead up to the close of the Forum in Paris between 30 June and 2 July, one event per month has taken place in Thailand since January 2021 to raise awareness of the importance of urgent joint action for gender equality.
The call for submissions spanned the field of performing arts, visual arts, and rhetorical expression to anyone between the ages of 15 – 24 years old living in Thailand. Almost 40 submissions were received from 3 June to 16 June, and nine were then shortlisted by an internal review committee of topic and industry experts, who went on to declare three winners, one for each category.
ข้อความจากศิลปิน: "สตรีศึกษา มช. คลังความรู้เฟมินิสต์ระดับเอเชีย (Women's Studies CMU) วีรวัศ ขำคม นักศึกษาปริญญาจากคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสมาชิกกลุ่ม Young Pride Club ต้องการจะนำเสนอประสบการณ์ใน 'ภาควิชาเป็นมากกว่าสถานที่ศึกษา แต่เป็นอีกครอบครัวหนึ่งที่ทำให้เขาได้มาเข้าใจแนวคิดและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงสังคม' นั่นคือ ภาควิชาสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถานที่ลับในมช. ที่หลายคนอาจจะไม่รู้จัก แต่กลับเป็นแหล่งรวมความรู้สตรีนิยมที่เยอะที่สุด ไม่ใช่ในไทยแต่ในเอเซีย นอกจากงานวิชาการสตรีศึกษายังเคลื่อนไหวทางสังคม อย่างวันสตรีสากล เพราะสตรีศึกษาเชื่อว่าเฟมมินิสต์ไม่เป็นจำต้องเป็นผู้หญิง ผู้ชายก็เฟมมินิสต์ได้ และแฟมมินิสต์ยืนหยัดเพื่อความเท่าเทียมและหลากหลายผลงานชิ้นนี้ เป็นแรงบันดาลให้หนึ่งให้คนรุ่นใหม่ โดยเฉพาะในสถานศึกษาที่สนใจในประเด็นเรื่องเพศและความหลากหลาย ได้ทราบถึงแหล่งสนับสนุน อย่างภาควิชาสตรีศึกษาที่จะให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ที่ต้องการเห็นสังคมที่ดีขึ้น มีเครื่องมือ ความรู้และกำลังใจในการขับเคลื่อนของกลุ่มเฟมินิสต์ในสังคมของพวกเรา ไม่ว่าคุณจะเป็น ผู้หญิง ผู้ชาย LGBTQIAN+ ผู้พิการ ชาติพันธุ์ และอื่นๆ ทุกคนสามารถเป็นผู้นำขับเคลื่อนเฟมินิสต์ในสังคมได้"
การจัดการแสดงครั้งนี้ถือเป็นครั้งที่ 6 และเป็นครั้งสุดท้ายในกิจกรรมที่จัดร่วมกันภายใต้บริบทของการประชุมยุคสมัยแห่งความเท่าเทียม (Generation Equality forum) กลุ่มสังคมพลเมือง (a civil society-centred) และการรวมตัวระดับโลกที่จัดประชุมโดยองค์การเพื่อสตรีแห่งสหประชาชาติ โดยจัดร่วมกับรัฐบาลฝรั่งเศสและเม็กซิโกระหว่างวันที่ 30 มิถุนายน - 2 กรกฎาคม ณ กรุงปารีส โดยในประเทศไทยได้มีการจัดกิจกรรมเพียง 1 กิจกรรมต่อเดือนตั้งแต่เดือนมกราคมที่ผ่านมา เพื่อปลุกจิตสำนึกเกี่ยวกับความสำคัญของการแสดงออกในเรื่องของความเท่าเทียมทางเพศ
การประกาศรับผลงานเข้าประกวด คลอบคลุมผลงานศิลปะหลายแขนง ไม่ว่าจะเป็นศิลปะการแสดง ทัศนศิลป์และการแสดงออกทางวาทศิลป์ของเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 15-24 ปี และเป็นผู้ที่มีถิ่นพำนักในประเทศไทย โดยในกิจกรรมนี้มีผลงานที่เข้าร่วมการแข่งขันกว่า 40 ชิ้น ตั้งแต่วันที่ 3 - 16 มิถุนายน และมี 9 ผลงานที่ผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการการตรวจสอบภายในและผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในเรื่องนี้และมีผู้ชนะเพียง 3 ท่านเท่านั้นในแต่ละประเภทของศิลปะที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น
“It is undeniable that the arts can have a significant influence on the perceptions of women and girls, which is why UN Women is proud of its support in this area,” noted Mohammad Naciri, Regional Director of UN Women Asia and the Pacific. “Yet, we must do so while remembering how women have traditionally been excluded from the business of the arts. In fact, a report released by UNESCO just last week indicated that despite recent progress towards gender equality, there continues to be a significant gender gap in the creative and cultural industries. And so, platforms such as these, that bring to light works that focus on issues of inequality, can also spotlight the skills and contributions of young people – regardless of gender – to the arts to empower and inspire others.”
“เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าศิลปะมีอิทธิพลอย่างมากต่อการรับรู้ในเรื่องของสตรีและเด็กผู้หญิงเป็นเหตุผลที่องค์การเพื่อสตรีแห่งสหประชาชาติมีความภาคภูมิใจกับแรงสนับสนุนเรื่องนี้” ถึงกระนั้นเราจะต้องทำสิ่งที่ว่านี้ด้วยความตระหนักที่ว่าสตรีนั้นยังคงถูกปิดกั้นจากผลงานด้านศิลปะ อันที่จริงแล้ว รายงานจากองค์การยูเนสโกในสัปดาห์ที่ผ่านมาได้ระบุว่า แม้จะมีพัฒนาการในเรื่องความเสมอทางเพศ แต่ทว่ายังคงมีความเหลื่อมล้ำทางเพศในอุตสาหกรรมด้านความคิดสร้างสรรค์และวัฒนธรรม ดังนั้นรูปแบบในการแสดงออกผ่านกิจกรรมเหล่านี้ที่มุ่งเน้นถึงประเด็นเรื่องความไม่เท่าเทียมจะสามารถสะท้อนถึงทักษะและการมีส่วนร่วมของเยาวชนหนุ่มสาวไม่ว่าจะเป็นเพศใดก็ตามในผลงานศิลปะเพื่อสร้างพลังและแรงบันดาลใจให้แก่ผู้อื่น” คุณโมฮัมหมัด นาซิรี ผู้อำนวยการองค์การเพื่อการส่งเสริมความเสมอภาพระหว่างเพศแห่งสหประชาชาติ ประจำภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิกได้กล่าวไว้
Her Excellency Élisabeth Moreno, French Minister Delegate for Gender Equality, Diversity and Equal Opportunities attached to the Prime Minister added: ท่านอลิซาเบธ โมเรโน รัฐมนตรีผู้แทนด้านความเท่าเทียมทางเพศ ความหลากหลายและโอกาสที่เท่าเทียมกัน ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้กล่าวว่า:
“In this context, youth is a strong priority of our action. They are – you are- the agents of change who design tomorrow's world and invent solutions to live better together. Therefore, I want to thank you all for your participation in this competition. Even if you do not win today, the fight for equality between women and men will have progressed a little further thanks to you, thanks to your commitment.”
“ในศตวรรษที่ 21 การต่อสู้เพื่อความเสมอภาคยังคงเป็นประเด็นสำคัญในบริบทของการเกิดโรคระบาด ณ ปัจจุบัน และได้ส่งผลกระทบต่อประชากรกลุ่มเปราะบาง ซึ่งอันดับแรกคือผู้หญิงในหลายๆประเทศ ถึงแม้ว่าคุณจะไม่ชนะในวันนี้ แต่การต่อสู้เพื่อความเสมอภาคระหว่างผู้หญิงกับผู้ชายจะยังก้าวหน้าต่อไปก็เพราะคุณ ขอขอบคุณในความมุ่งมั่นของพวกคุณค่ะ”
“In order to achieve full gender equality, we must continue down the path of advancing feminism until awareness and justice reach every society in every corner of the world,” said Bernardo Cordova, his Excellency the Ambassador of Mexico to Thailand. “เพื่อการบรรลุความเสมอภาคทางเพศอย่างเต็มที่นั้น เราต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องด้วยวิถีสตรีนิยมจนกระทั่งเกิดความตระหนักและความยุติธรรมในทุกๆ สังคมทุกมุมของโลก” ท่านเบร์นาโด กอร์โดบา เอกอัครราชทูตเม็กซิโก ประจำประเทศไทยได้กล่าวไว้
The event was also an occasion for celebrities and influencers to reiterate their commitment to gender equality and to support the efforts to advance this cause. Thai singer Pat Klear made a notable contribution sharing her relationship to feminism and discussed the importance of women’s empowerment and self-confidence to create healthy social dialogue between men and women. กิจกรรมที่จัดขึ้นนี้ยังเปิดโอกาสให้เหล่าศิลปิน ดารา และอินฟลูอินเซอร์ได้ออกมาแสดงจุดยืนในการมีส่วนร่วมเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ และผลักดันความมุ่งมั่นเพื่อความก้าวหน้าของแนวคิดนี้ (this cause) แพท วงเคลียร์ (Pat Klear) นักร้องสาวชาวไทยได้ร่วมแบ่งปันประสบการณ์เรื่องราวของเธอกับวิถีสตรีนิยมและยังพูดถึงความสำคัญของพลังสตรีและความเชื่อมั่นในศักยภาพของตัวเองเพื่อสร้างสรรค์บทสนทนาที่ปลอดภัยและมั่นคง (healthy conversation) ระหว่างผู้ชายและผู้หญิง
“I am among a lot of women who work in a male-dominated industry. I know very well what the challenges are. And I, myself, used to fight quite aggressively against this matter [….] Things were harder for me to achieve compared to my fellow male industry peers. […] We should never stop being actively engaged in raising gender equality awareness because it’s a topic that matters so much to all of us, and to support those who’ve been taken advantage of just because of their gender.”
“ดิฉันเป็นหนึ่งในผู้หญิงที่ทำงานในธุรกิจที่ผู้ชายมีโอกาสที่ดีกว่า ดิฉันทราบถึงความท้าทายนี้ค่ะ ตัวดิฉันเองเคยต้องสู้อย่างแรงกล้ากับเรื่องนี้ [..] มันยากสำหรับดิฉันที่จะทำได้สำเร็จเมื่อเทียบกับเพื่อนผู้ชายที่อยู่ในธุรกิจเดียวกัน [..] เราทุกคนไม่ควรหยุดที่จะมีส่วนร่วมในการสร้างจิตสำนึกต่อความเท่าเทียมทางเพศ เนื่องจากเป็นประเด็นที่ทีความหมายอย่างมากต่อพวกเราทุกคน และเพื่อสนับสนุนคนที่ถูกเอารัดเอาเปรียบเพียงเพราะเพศสภาพของพวกเขา”
The online showcase of Youth Voices for Generation Equality can be accessed at: สามารถรับชมผลงานต่างๆภายใต้หัวข้อ “เสียงของเยาวชนเพื่อยุคสมัยแห่งความเท่าเทียม” ในรูปแบบออนไลน์ได้ที่: YouTube.com/unwomenesea, Facebook.com/UNWomenAsia and Instagram.com/unwomenasia
For queries and/or to arrange media interviews, please contact: ข้อสงสัย/คำถามเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ:
UN Women – montira.narkvichien@unwomen.org
Embassy of France in Thailand – charlotte.trodet@diplomatie.gouv.fr
Embassy of Mexico in Thailand – poltai@sre.gob.mx